นวัตกรรมสำหรับอาคารโครงสร้างเหล็กต้านทานแรงแผ่นดินไหว

นวัตกรรมสำหรับอาคารโครงสร้างเหล็กต้านทานแรงแผ่นดินไหว ที่นำเสนอนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของอีกหลายๆ นวัตกรรมที่น่าสนใจนะครับ สำหรับโครงสร้างเหล็ก “เฉพาะส่วนที่ต้องรับแรงแผ่นดินไหว” ย้ำว่าไม่ใช่ทุกส่วนทุกจุดของอาคารจะรองรับแรงแผ่นดินไหว บางส่วนรับ gravity load ก็มากมายหลายส่วน ดังนั้น ผู้ออกแบบไม่จำเป็นต้องทำให้ทุกส่วนของอาคาร “เหนียวไปทั้งอาคาร” บางส่วนต้องการความแข็งแรงก็ออกแบบให้ส่วนนั้นมี strength สูง บางส่วนต้องการทั้ง strength และ ductility…

ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว Seismic design for structural steel buildings เราในฐานะวิศวกร ต้องออกแบบโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหวหรือไม่ ตอบไปแล้วนะครับว่า “อ้างอิงกฎกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564” เราต้องทำ และทำบนเงื่อนไข “ประกาศกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564”…

แผ่นดินไหว 100 ปี ที่ก่อให้เกิดความสูญเสียมากที่สุดในประวัติศาสตร์ตุรกี

แผ่นดินไหว 100 ปี ที่ก่อให้เกิดความสูญเสียมากที่สุดในประวัติศาสตร์ตุรกี เช้าวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลาประมาณ 4:17 น. ตามเวลาท้องถิ่น (8:17 น. ตามเวลาประเทศไทย) ได้มีรายงานเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ magnitude ราว 7.8 ศูนย์กลางใกล้เมือง…

การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

สำหรับเนื้อหาในวันนี้จะเป็น การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหว ที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ซึ่งอยากจะนำเสนอให้ได้เห็นกันว่า สำหรับอาคารประเภทนี้แล้ว แรงทางด้านข้างที่จะต้องพิจารณาเป็นหลัก คือ แรงลมหรือแรงแผ่นดินไหวกันแน่ การออกแบบอาคารที่มีลักษณะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า โดยปกติแล้ว นอกจาก dead load live load และ roof live load ที่กระทำกับอาคารแล้ว…

หลักในการคำนวณแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับโครงสร้าง (Seismic load for building design)

พื้นฐานสำคัญที่วิศวกรผู้ออกแบบต้องเข้าใจ ตอนที่ 2 จากตอนที่ 1 ที่กล่าวถึงพื้นฐานการที่เกี่ยวข้องกับผลตอบสนองของโครงสร้างจากการสั่นของพื้นดิน ต่อคุณสมบัติทางพลศาสตร์ของอาคารที่เรียกว่า คาบการสั่นธรรมชาติ หรือ natural period ที่ส่งผลให้แรงที่กระทำของโครงสร้างแตกต่างกัน ตามปรากฏการณ์ที่เรียกว่า resonance แล้ว บทความนี้จะนำเสนอต่อถึง ผลของความเหนียว (ductility, R) ของระบบรับแรงด้านข้าง…

หลักในการคำนวณแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับโครงสร้าง (Seismic load for building design)

พื้นฐานสำคัญที่วิศวกรผู้ออกแบบต้องเข้าใจ ตอนที่ 1 โดยปกติแล้วเวลาออกแบบโครงสร้าง ผู้ออกแบบจะพิจารณาฝั่งแรงแยกออกมาจากฝั่งกำลัง ฝั่งแรงก็เริ่มจากแรงภายนอกที่มากระทำ คำนวณหาแรงภายในทั้ง bending moment และ shear force ไปจนกระทั่ง axial force แล้วพิจารณาอีกฝั่งว่า มีกำลังในการรับแรงภายในดังกล่าวนี้ว่าเป็นเท่าไหร่อย่างไร ตามระดับความเสี่ยงที่มาตรฐานในการออกแบบได้แนะนำเอาไว้ ซึ่งเป็นที่ชัดเจนว่า ฝั่งแรง…