การออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คานร่วมกับเสาท่อเหล็ก

การออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คานร่วมกับเสาท่อเหล็ก : จากที่ได้เคยนำเสนอถึงหลักในการออกแบบระบบพื้นคอนกรีตอัดแรง ว่าเป็นการใส่แรงภายในให้เกิดขึ้นกับโครงสร้างในทิศทางตรงข้ามกับแรงภายในที่เกิดจากแรงภายนอกด้วยการอัดแรงให้กับลวดอัดแรง ได้โดยไม่ต้องเพิ่มขนาด เพิ่มกำลังคอนกรีต หรือปริมาณเหล็กเสริมให้มากขึ้นจากเดิม ซึ่งโดยทั่วไป การจัด profile ของลวดอัดแรงก็จะสะท้อนกับลักษณะของ bending moment diagram ของ flexural member ไม่ว่าจะเป็นคานหรือแผ่นพื้นก็ตาม หลังจากนั้นจึงทำการเทคอนกรีตและบ่มคอนกรีตจนได้กำลังตามที่กำหนด จากนั้นจึงทำการดึงลวดอัดแรง เพื่อ…

การออกแบบเสาเหล็ก

การออกแบบเสาเหล็ก : พื้นฐานของการออกแบบโครงสร้างเหล็กนั้น วิศวกรต้องเข้าใจก่อนว่า strength แตกต่างจาก stiffness โดย strength เป็นกำลัง ณ จุดที่เราขีดเส้นเอาไว้ เป็น spot เป็นจุด เช่นค่ากำลังที่ yield ก็มีค่าหนึ่ง ค่ากำลังที่ rupture…

ตัวอย่างการออกแบบระบบค้ำยันทางข้างให้กับเสาเหล็ก

เมื่อวิศวกรโครงสร้างออกแบบเสา วิศวกรจะเริ่มจากการกำหนดตัวแปรที่สำคัญในการคำนวณกำลังรับแรงของเสา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ความยาวของเสา” ซึ่งเป็น #ความยาวที่ปราศจากการค้ำยัน column unbraced length ซึ่งสะท้อนความยาวที่ #ค้ำยันทางข้างของเสาทำงานสมบูรณ์ 100% bracing capability

การคำนวณขนาด เสาท่อเหล็ก และ แผ่นเหล็กรองฐานเสา (Base Plate)

ข้อดี ข้อเสียของการใช้ เสาท่อเหล็ก รวมถึงการคำนวณหาขนาดที่ใช้งานของเสาเหล็กท่อเหลี่ยม ท่อกลม และ Base Plate

การพิจารณาและการออกแบบ Web Tapered Section

สำหรับวิศวกรผู้ออกแบบหรือควบคุมงาน ที่ทำงานเกี่ยวกับ metal building ที่มีลักษณะการใช้งานเป็นโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าก็น่าจะคุ้นเคยกับหน้าตัดที่เรียกกันว่า tapered section กันเป็นอย่างดี ซึ่งก็คือ หน้าตัดที่มีความลึกไม่สม่ำเสมอ (non – prismatic section) เนื่องจาก web มีความลึกที่ไม่เท่ากันตลอดทั้ง member แล้วทำไมแนวคิดการใช้งานหน้าตัดประเภทนี้จึงเกิดขึ้น ??…

ตัวอย่าง Tapered Column Design รับแรงอัด

จากโพสต์ก่อนที่เคยเล่า concept การออกแบบ tapered section ที่รับแรงอัด ไปก่อนหน้านี้ อ่านโพสต์ก่อนคลิก ! วันนี้ก็เลยเอาตัวอย่างการออกแบบ tapered section และ tapered column design มาให้ดูกันครับ ว่ามันมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง สำหรับท่านที่คุ้นเคยกับการออกแบบเสา (ที่มีหน้าตัดเป็น…

AISC ยกเลิก K factor ในการ ออกแบบเสาเหล็ก / compression member !!!

เรื่องนี้หลายท่านอาจยังไม่ทราบ ว่าเรา กำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน จากการคำนวณ ออกแบบเสาเหล็ก และ compression member อื่นๆ ด้วยวิธีการเก่าๆ ที่เราคุ้นเคย คือการหาค่า K = effective length factor แล้วมาหา KL/r ของเสา…

เครื่องมือช่วยออกแบบ เสาเหล็กกล่อง

เสาเหล็กกล่องนั้นมีความเหมาะสมที่จะนำมารับแรงอัดเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากมีหน้าตัดที่มีด้านกว้างและด้านยาวเท่ากัน ดังนั้นจึงให้ค่ารัศมีไจเรชั่นของทั้งแกน x และแกน y ที่เท่ากัน (หรือพูดง่ายๆ คือ ไม่มีแกนอ่อนนั้นเองครับ) ซึ่งเป็นตัวแปรที่มีความสำคัญในการคำนวณหากำลังรับแรงอัดของเสาเหล็กครับ

ภัยเงียบกับการใช้ แปกัลวาไนซ์ (แปเหล็กขาว)

ในอดีต การใช้งาน “แปเหล็กขาว” หรือ “เสาเหล็กขาว” มักจะเป็นรูปแบบที่ให้บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร ตั้งแต่การออกแบบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ไปจนกระทั่งการก่อสร้าง โดยผู้ผลิตที่มีความรู้ความชำนาญและมีประสบการณ์ ดังเช่นผู้ประกอบการที่ได้นำเสนอไปข้างต้น แต่อย่างไรก็ดี ด้วยผลิตภัณฑ์ “แปเหล็กขาว” หรือ “เสาเหล็กขาว”

เสาเหล็ก HSS ดีอย่างไร และวิธีการคำนวณกำลังรับน้ำหนัก

ดังนั้นแล้ว ถ้าลองคิดเล่นๆ ว่า เอาเสาเหล็กมาใช้กับอาคารเหล่านี้ จะดีกว่ามั้ย และมีข้อดียังไงบ้าง หากให้เสาเหล็กรับแต่น้ำหนักที่เป็น axial compression ส่วนแรงทางด้านข้างให้ member เช่น lateral bracing หรือ lift core รับไปแทน