การออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คานร่วมกับเสาท่อเหล็ก

การออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คานร่วมกับเสาท่อเหล็ก : จากที่ได้เคยนำเสนอถึงหลักในการออกแบบระบบพื้นคอนกรีตอัดแรง ว่าเป็นการใส่แรงภายในให้เกิดขึ้นกับโครงสร้างในทิศทางตรงข้ามกับแรงภายในที่เกิดจากแรงภายนอกด้วยการอัดแรงให้กับลวดอัดแรง ได้โดยไม่ต้องเพิ่มขนาด เพิ่มกำลังคอนกรีต หรือปริมาณเหล็กเสริมให้มากขึ้นจากเดิม ซึ่งโดยทั่วไป การจัด profile ของลวดอัดแรงก็จะสะท้อนกับลักษณะของ bending moment diagram ของ flexural member ไม่ว่าจะเป็นคานหรือแผ่นพื้นก็ตาม หลังจากนั้นจึงทำการเทคอนกรีตและบ่มคอนกรีตจนได้กำลังตามที่กำหนด จากนั้นจึงทำการดึงลวดอัดแรง เพื่อ…

การออกแบบเสาเหล็ก

การออกแบบเสาเหล็ก : พื้นฐานของการออกแบบโครงสร้างเหล็กนั้น วิศวกรต้องเข้าใจก่อนว่า strength แตกต่างจาก stiffness โดย strength เป็นกำลัง ณ จุดที่เราขีดเส้นเอาไว้ เป็น spot เป็นจุด เช่นค่ากำลังที่ yield ก็มีค่าหนึ่ง ค่ากำลังที่ rupture…

ตัวอย่างการออกแบบระบบค้ำยันทางข้างให้กับเสาเหล็ก

เมื่อวิศวกรโครงสร้างออกแบบเสา วิศวกรจะเริ่มจากการกำหนดตัวแปรที่สำคัญในการคำนวณกำลังรับแรงของเสา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ความยาวของเสา” ซึ่งเป็น #ความยาวที่ปราศจากการค้ำยัน column unbraced length ซึ่งสะท้อนความยาวที่ #ค้ำยันทางข้างของเสาทำงานสมบูรณ์ 100% bracing capability

การประยุกต์ใช้งานท่อเหล็กเพื่อเป็นเสาอาคารร่วมกับพื้นคอนกรีต PostConnex

ที่มาและความสำคัญ เสาท่อเหล็ก PostConnex : นับตั้งแต่ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคสมัยแห่งการพัฒนาเมือง อันก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ (Demand) ด้านงานก่อสร้างทั้งงานอาคารและโครงสร้างพื้นฐาน ระบบการก่อสร้างที่นำคอนกรีตเข้ามารับแรงร่วมกับเหล็กเสริมที่เรียกว่าระบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced concrete structure) ก็เป็นระบบที่ได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งทรัพยากร (Resource) ภายในประเทศ ทั้งแหล่งหิน ทราย และสินแร่อื่น ๆ…

AISC ยกเลิก K factor ในการ ออกแบบเสาเหล็ก / compression member !!!

เรื่องนี้หลายท่านอาจยังไม่ทราบ ว่าเรา กำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน จากการคำนวณ ออกแบบเสาเหล็ก และ compression member อื่นๆ ด้วยวิธีการเก่าๆ ที่เราคุ้นเคย คือการหาค่า K = effective length factor แล้วมาหา KL/r ของเสา…