ตัวอย่างการคำนวณออกแบบ Base plate (Axial only)
ตัวอย่างการคำนวณออกแบบ Base plate (Axial only) Base plate – Design example (Axial only) ตัวอย่างการคำนวณออกแบบ Base plate ที่เป็นหน่วย กิโลกรัม (ตัน) เมตร (cm,…
ตัวอย่างการคำนวณออกแบบ Base plate (Axial only) Base plate – Design example (Axial only) ตัวอย่างการคำนวณออกแบบ Base plate ที่เป็นหน่วย กิโลกรัม (ตัน) เมตร (cm,…
สำหรับโพสต์นี้จะมาพูดถึงเรื่องของ base plate รับแรงเฉือน กันนะครับ แต่ก่อนอื่น ก็ต้องของพูดถึงพฤติกรรมทั่วไปที่เราพบเจอได้บ่อยๆ ของ bae plate ก่อนว่า โดยปกติแล้ว การออกแบบ base plate ที่เราคุ้นเคยกันทั่วไปก็คือ base plate ที่ต้องรับแรงในแกนที่ถ่ายมาจากเสา ซึ่ง…
ในโพสต์นี้ จะนำเสนอถึง ความใกล้เคียงกัน ในการพิจารณา Base plate connection และ End plate connection นะครับ ว่ามันหลักการที่ใกล้เคียงกัน คืออะไร หลังจากที่ได้ปูพื้นถึง ความแตกต่างระหว่าง1. Shear connection vs. Moment…
โดยปกติแล้วเวลาที่เราออกแบบโครงสร้างอาคาร เราอาจจะละเลยการออกแบบ Column Base Plate เนื่องจาก ในหลายๆครั้งเราก็จะมีความหนาของตัว base plate ในใจแบบยืนพื้นอยู่แล้ว ว่าจะใช้ความหนาประมาณ 1 นิ้ว หรือ 20 มม. โดยที่จะไม่ได้ให้ความสำคัญในการคำนวณสักท่าไหร่ วันนี้เลยอยากเอาเนื้อหาเกี่ยวกับ concept ของการออกแบบ…
อย่างที่หลายๆ ท่านพอจะทราบกันดีว่าในการออกแบบส่วนเชื่อมต่อระหว่างส่วนโคนของเสาโครงสร้างและตอม่อสำหรับอาคารโรงงานหรือโกดังเก็บสินค้า นอกจากการที่เราจะต้องออกแบบ base plate เพื่อรับแรงกดและโมเมนต์แล้ว ในบางกรณีเราจำเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงแรงถอน ที่กระทำกับ anchorage อันเนื่องมาจากปัจจัยหลายๆอย่าง อาทิเช่น แรงลม ที่อาจก่อให้เกิดแรงดูดที่หลังคาของอาคาร หรือแรงผลักที่ทำให้เกิดการพลิกคว่ำ หรือ turning over ของอาคาร แรงเหล่านี้ถือเป็นแรงถอนประเภทหนึ่ง ที่จะเดินทางผ่าน…
ต่อเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ ที่เป็นเรื่องของ การออกแบบ base plate (แผ่นเหล็กรองใต้เสา) ที่ต้องรับ moment ขนาดใหญ่ หรือ large moment นะครับ การพิจารณาดังกล่าวนั้นจะมีความซับซ้อนที่ค่อนข้างมากหน่อย เนื่องจากเราสามารถโมเมนต์ที่เกิดขึ้นมีขนาดใหญ่ ทำให้ระยะของแรงที่เกิดขึ้นนั้น มีความยากลำบากในการพิจารณา พร้อมกับ bolt (สลักเกลียว)…
การออกแบบ base plate (แผ่นเหล็กรองใต้เสา) ตามทฤษฎีแล้วจะแบ่งการพิจารณาไว้ค่อนข้างหลายกรณีครับ เช่น รับแรงในแนวแกนอย่างเดียว ต้องรับทั้งแรงในแนวแกนและโมเมนต์ ซึ่งจะแบ่งเป็น (i.) small moment (ii.) large moment ต้องรับแรงเฉือน เป็นต้น ซึ่งในโพสต์นี้ก็จะเป็นพูดถึงเรื่องของการพิจารณา base plate…
ในอาคารทั่วๆไป เช่น บ้านหรือสำนักงานต่างๆ เราจะพิจารณาแรงกด P (Axial Force) ที่ถ่ายลงมาจากเสาไปยัง Base Plate แล้วจึงเอาไปคำนวณหาความหนาของ Base Plate และคำนวณค่า Strength ของคอนกรีต แต่ในอาคารประเภทโรงงานหรือโกดังเก็บของที่มีช่องเปิดแล้วแรงดันลมภายในที่เป็นแรง uplift จะส่งผลให้เกิดแรงดึงขึ้นที่ column base plate ซึ่งทำให้ต้องพิจารณาและออกแบบด้วยวิธีที่ต่างกับส่วนที่รับแรงอัดเพียงอย่างเดียว