การคำนวณแรงลมอ้างอิง มยผ.1311-50

การคำนวณแรงลม อ้างอิง มยผ. 1311-50 VDO เรื่องแรงลมดูเพิ่มเติมได้จากลิ้งค์นี้ครับ https://www.youtube.com/watch?v=3LTT2x3kRWU สำหรับ low-rise building p = Iw.q.Ce.Cg.Cp โดยพิจารณาค่าสุทธิ ของแรงลมจากความดันลมภายนอก หักแรงลมจากความดันลมภายใน = pe – pi สรุป…

Wind load มยผ. vs. ASCE

Wind load มยผ. vs. ASCE VDO เรื่องแรงลมดูเพิ่มเติมได้จากลิ้งค์นี้ครับ https://www.youtube.com/watch?v=3LTT2x3kRWU หลายท่านสอบถามมาเกี่ยวกับการแปลงจาก มยผ. เป็น ASCE ก่อนอื่นต้องเรียนว่าเรามีข้อจำกัดอยู่พอประมาณนะครับในการตอบคำถามนี้ – ประการแรกคือ เราเองไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมแรงลม aerodynamic พลศาสตร์ขั้นสูง และเราก็ไม่ได้ช่ำชองด้านการพิจารณาหลักการทางสถิติมากนัก เรียกว่าพอเขาใจได้ พอถูไถไปได้…

การพิจารณา แรงลม สำหรับอาคารโรงงาน และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (มยผ.1311-50 และ ASCE7-16)

การพิจารณาแรงลมสำหรับอาคารโรงงาน : การออกแบบอาคาร เพื่อให้สามารถรองรับต่อ action จากแรงกระทำจากภายนอกประเภทต่าง ๆ นั้น ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญ…

พื้นฐานในการคำนวณแรงลม

ว่าด้วยเรื่องของแรงลม ถึงแม้ว่าเราจะได้ post นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวิธีในการพิจารณาแรงลมที่กระทำกับตัวอาคารไปพอสมควรนะครับทาง FB page SSI Love Steel Construction หลายท่านก็เข้าใจ บางท่านก็ได้ให้ความเห็นดีๆ educate พวกเราทำให้เราเข้าใจมากยิ่งขึ้น บางท่านก็ยังมีข้อสงสัยอยู่ เลยอยากนำเรื่อง wind load มานำเสนออีกครั้ง เพื่อที่จะอธิบายถึง…

การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

สำหรับเนื้อหาในวันนี้จะเป็น การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหว ที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ซึ่งอยากจะนำเสนอให้ได้เห็นกันว่า สำหรับอาคารประเภทนี้แล้ว แรงทางด้านข้างที่จะต้องพิจารณาเป็นหลัก คือ แรงลมหรือแรงแผ่นดินไหวกันแน่ การออกแบบอาคารที่มีลักษณะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า โดยปกติแล้ว นอกจาก dead load live load และ roof live load ที่กระทำกับอาคารแล้ว…

ตัวอย่างการคำนวณแรงลม และถ่ายแรงสำหรับอาคารเตี้ย อย่างละเอียด

สำหรับเนื้อหาในบทความนี้จะเป็นการนำ ตัวอย่างการคำนวณแรงลม พร้อมการถ่ายแรงเข้าโครงสร้าง สำหรับอาคารเตี้ย หรือ low-rise buildings ให้ได้ลองดูกันนะครับ ก่อนอื่นเลย คงต้องพูดถึงว่าทำไมวิศวกรผู้ออกแบบอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าถึงต้องเข้าใจแรงลมที่กระทำกับอาคารประเภทนี้ (อาคารเตี้ย) ซึ่งคำตอบก็น่าจะเป็นเรื่องของการ optimization ให้โครงสร้างเกิดความประหยัดมากที่สุดนั่นเอง เนื่องจากงานอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าเหล่านี้ เป็นตลาดที่มีกำไรค่อนข้างต่ำ และแข่งขันกันด้วยเรื่องของราคาเป็นหลัก ซึ่งเหตุผลเหล่านี้ก็เป็นเหตุทำให้การออกแบบต้องทำออกมาได้อย่างประหยัดที่สุด อาคารมีน้ำหนักเบาที่สุดเท่าที่จะทำได้ เนื่องจากน้ำหนักของอาคารส่งผลต่อราคาเหล็กที่จะต้องสั่งซื้อมาก่อสร้าง…

การระบุ ช่องเปิดอาคาร ตาม ASCE 7-05

เมื่อวานได้มีโอกาสคุยกับน้องคนนึงถึงเรื่องการระบุ ช่องเปิดอาคาร ที่ถูกออกแบบให้ใช้งานเป็นอาคารโกดัง / คลังสินค้า ตาม ASCE7 ว่าจะตีความว่าอย่างไร ซึ่งในโพสต์นี้จะขออ้างอิง ASCE7 ปี 2005 นะครับ หรือ ASCE 7-05 ซึ่งหลายท่านน่าจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เพราะว่า มยผ.1311 ก็ได้อ้างอิง…

ตัวอย่าง การคำนวณแรงลม และการถ่ายแรงลมเข้าสำหรับอาคารสูงปานกลาง

สำหรับเรื่องของแรงลมในโพสต์เก่าๆ ก่อนหน้านี้ เราได้พูดถึง การคำนวณแรงลม สำหรับอาคารเตี้ย (low-rise building) ทั้งตามวิธีของ มยผ. 1311 และ ASCE 7 กันไปค่อนข้างมากแล้ว รวมไปถึง การคำนวณแรงลม ที่กระทำกับหลังคารูปแบบต่างๆ เช่น หลังคาทรงโดม และทรง…

วิธีการ แปลงความเร็วลม ที่คาบเวลากลับต่าง ๆ ตาม มยผ. 1311

หากต้องการใช้ load combination ตาม ASCE 7-05 แล้ว อย่างแรกเลย ถือว่าเป็นสิ่งที่เน้นย้ำกันอยู่ตลอด ก็คือ จะต้องเปลี่ยนความเร็วลมจากเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ให้เป็น 3 วินาทีเสียก่อน ซึ่งใน มยผ. ส่วนอธิบายเพิ่มเติมก็ได้บอกไว้ว่าให้ทำการคูณด้วย 1.52 ยกตัวอย่างเช่น หากพิจารณาออกแบบอาคารในพื้นที่ กรุงเทพฯ ความเร็วลมเฉลี่ยที่ระบุจะมีค่าเท่ากับ 25 m/s จากนั้นทำการคูณด้วย 1.52 >> 25 x 1.52 = 38 m/s ครับ หากลองไปเปิดดูใน ASCE 7-05 ก็จะเห็นว่ามีค่าเท่ากันเป๊ะเลย