การรับแรงเฉือนของคานเหล็ก และความสัมพันธ์กับ Mohr Circle

พื้นฐานสำคัญที่วิศวกรควรทราบคือ ในเชิงวัสดุ เรากำหนดเกรดของวัสดุตามสมบัติในการรับ “แรงดึง” ไม่ว่าจะเป็นค่า yield strength หรือ tensile strength โดยไม่ได้กำหนดเกรดตามสมบัติในการรับ “แรงเฉือน” แต่สมบัติในการรับแรงเฉือนของวัสดุเหนียว (ductile material) ก็มีทฤษฎีรองรับที่เรียกว่า Yield criterion ซึ่งพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ 2…

การซ่อมแซมและเสริมกำลังให้กับโครงสร้างเหล็ก Repair and Strengthening of Steel Structures

มนุษย์ กับ โครงสร้าง ล้วนตกอยู่ภายใต้หลักธรรมชาติที่ว่าสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง มีการเสื่อมไปเป็นธรรมดา การเสื่อมของโครงสร้างตามกาลเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงสร้างเหล็กนั้น มีปัจจัยสำคัญคือ ความชื้นและแรงภายนอกที่กระทำ อันส่งผลต่อการกัดกร่อน (corrosion) ซึ่งปรากฏผลให้เห็นในรูปของสนิม และความล้า (fatigue) ซึ่งส่งผลให้เห็นเป็นการแตกร้าว ทั้งนี้รูปแบบความเสียหายทั้ง corrosion และ fatigue นั้น มักจะไม่เกิดกับอาคารโครงสร้างเหล็ก…

การเสริมกำลังให้โครงสร้างเหล็ก ( Strengthening of Structural Steel )

กิจกรรมซ่อมแซมเสริมกำลังนี้ เป็นบทพิสูจน์ความรู้ความเข้าใจในเชิงพฤติกรรมของโครงสร้างเหล็กกับวิศวกรผู้ออกแบบ คือหากเปรียบเทียบกับลักษณะทางร่างกายของมนุษย์ การจะให้ยากรักษาโรค หรือวิธีการบำบัดที่เหมาะเฉพาะบุคคลได้ คุณหมอจะต้องเข้าใจลักษณะเชิงพฤติกรรมของโรค หรือความเจ็บป่วยของคนไข้ โดยอาศัยข้อมูลจาก การตรวจด้วยสายตาและการสัมผัส (visual inspection) การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง (dimension measuring) การวัดความดัน ฟังเสียงหัวใจเต้น (soundness testing) การตรวจเลือด…

การออกแบบคานเหล็ก

การออกแบบคานเหล็ก: หลายสิบปีที่ผ่านมา วิศวกรโครงสร้างในสหรัฐอเมริกาเวลาที่จะออกแบบโครงสร้างเหล็ก นอกจากจะอ้างอิงมาตรฐานการออกแบบของ American Institute of Steel Construction หรือ #AISC แล้ว ยังอ้างอิงข้อมูลสนับสนุนการออกแบบจาก AISC ที่เรียกว่า AISC Manual for Steel Construction…

การออกแบบองค์อาคารต้านทานการดัดตัว

การออกแบบองค์อาคารต้านทานการดัดตัว Design of Members for Flexure อ้างอิง AISC360-16 หรือ วสท. 011038-22 การอัพเดทจาก AISC360-10 ไปเป็น AISC360-16 นั้น ในส่วนของ การคำนวณออกแบบองค์อาคารรับแรงดัดนั้น แทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเนื้อหา จะมีอยู่บ้างเล็กๆ…

การออกแบบ องค์อาคารต้านทานการดัดตัว

การออกแบบ องค์อาคารต้านทานการดัดตัว Design of Members for Flexure อ้างอิง AISC360-16 หรือ วสท. 011038-22 การอัพเดทจาก AISC360-10 ไปเป็น AISC360-16 นั้น ในส่วนของ การคำนวณออกแบบองค์อาคารรับแรงดัดนั้น แทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเนื้อหา…

การค้ำยัน ด้านข้าง สำหรับคาน (Beam Lateral Bracing)

Beam lateral bracing มีหลักการคิดขนาด หน้าตัดขององค์อาคารทีใช้ค้ำยันด้านข้างคานได้อย่างไรบ้าง สมมติเราค้ำทางข้างด้วยเหล็กเส้น RB9 แล้ว…

การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัว (Deflection Controlled Design)

เจ้าของโครงการ สถาปนิก หรือกระทั่งวิศวกรผู้ออกแบบหลายท่านอาจมีความสับสนว่า การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัว นั้น เป็นข้อกำหนดที่ควบคุมตามกฎหมาย หรือเป็นเงื่อนไขในการออกแบบเพื่ออำนวยให้เกิดความปลอดภัย ซึ่งอาจไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องมากนัก ประเด็นที่น่าสนใจเรื่อง การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัว 1. การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัวเป็นการออกแบบเพื่อการใช้งานได้ดี หรือ serviceability design เป้าหมายคือ เพื่อ อำนวยให้ผู้ใช้งานอาคารรู้สึกสบายใจ ไม่รู้สึกหวาดกลัวเมื่อเห็นการแอ่นตัวมากๆ รำคาญใจเมื่อแอ่นตัวจนเกิดน้ำรั่วซึมเข้าตัวอาคาร…

หลักในการออกแบบ Cold-Formed Purlin

วันนี้เราลองมาดูวิธีการออกแบบ cold-formed purlin กันสักนิดครับว่า หากต้องการคำนวณด้วยมือแล้ว สามารถทำได้ยากหรือง่ายอย่างไร แต่อย่างที่เคยเรียนให้ทุกท่านทราบไปว่า การออกแบบ cold-formed section นั้น จะต้องมีความเชี่ยวชาญและชำนาญพอสมควร เนื่องจากการออกแบบหน้าตัดคานที่มีความบางค่อนข้างมาก และมีการพับขึ้นรูปเป็นให้มีส่วนเขี้ยวที่ทำให้หน้าตัดไม่ได้สมมาตรกันทั้ง 2 แกน อีกทั้งพฤติกรรมของตัว member เองก็ยังต้องมีการพิจารณาที่แตกต่างกันออกไปอีก ย้อนอ่านได้ทาง…