Earthquake Load (แรงแผ่นดินไหว)
ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว Seismic design for structural steel buildings เราในฐานะวิศวกร ต้องออกแบบโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหวหรือไม่ ตอบไปแล้วนะครับว่า “อ้างอิงกฎกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564” เราต้องทำ และทำบนเงื่อนไข “ประกาศกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564”

แต่สำหรับการทำโครงสร้างให้สามารถต้านทานแรงจากแผ่นดินไหว กฎกระทรวงก็ไม่ได้เขียนจำกัดไว้ว่าเราต้องทำตามมาตรฐานฉบับใด แต่เราก็มี มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง มยผ. 1304 รองรับสนับสนุนกิจกรรมการออกแบบ ทั้งจุดต่อ และการทำ detail ของระบบรับแรงแผ่นดินไหวที่เป็นระบบโครงสร้างเหล็ก

สาระสำคัญ ที่มันไปเกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณวิศวกร ที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องและเหมาะสมกับหลักวิศวกรรมคือ

– วิศวกร เวลาออกแบบอาคารจะแยกส่วนอาคารเป็น 2 ส่วน คือ ระบบรับแรงแนวดิ่ง พื้น คาน เสา ที่เรียกว่า gravity system และ ระบบรับแรงด้านข้าง ที่เรียกว่า lateral system พวกปล่อง lift หรือบันไดหนีไฟ

– แรงแผ่นดินไหวที่เราคำนวณออกมา ใส่ใน model กระทำกับอาคาร ขึ้นกับประเภทของระบบรับแรงด้านข้าง (lateral system) โดยแต่ละประเภทของระบบรับแรงด้านข้าง “หากทำ detail ตามที่กำหนดไว้ ที่เรียกว่า prequalified” จะมีความเหนียวที่ไม่เท่ากันในแต่ละระบบ ความเหนียว (R) จะนำไปหาร แรงที่พิจารณาตามเงื่อนไขในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ หรือหมายความว่า

หากเราไม่ทำ detail ตาม มยผ. 1304 ค่าแรงที่ได้จะไม่เป็นไปตามประกาศกระทรวงฯ แผ่นดินไหว ที่อ้างอิงจากกฏกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564

ยังไงลองศึกษาเบื้องต้นดูก่อนนะครับ เดี๋ยวมีโอกาสจะขยายความในรายละเอียดต่อไป

 

#ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

#ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

***

ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว Seismic design for structural steel buildings เราในฐานะวิศวกร ต้องออกแบบโครงสร้างต้านทานแรงแผ่นดินไหวหรือไม่ ตอบไปแล้วนะครับว่า “อ้างอิงกฎกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564” เราต้องทำ และทำบนเงื่อนไข “ประกาศกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564”

แต่สำหรับการทำโครงสร้างให้สามารถต้านทานแรงจากแผ่นดินไหว กฎกระทรวงก็ไม่ได้เขียนจำกัดไว้ว่าเราต้องทำตามมาตรฐานฉบับใด แต่เราก็มี มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง มยผ. 1304 รองรับสนับสนุนกิจกรรมการออกแบบ ทั้งจุดต่อ และการทำ detail ของระบบรับแรงแผ่นดินไหวที่เป็นระบบโครงสร้างเหล็ก

สาระสำคัญ ที่มันไปเกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณวิศวกร ที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องและเหมาะสมกับหลักวิศวกรรมคือ

– วิศวกร เวลาออกแบบอาคารจะแยกส่วนอาคารเป็น 2 ส่วน คือ ระบบรับแรงแนวดิ่ง พื้น คาน เสา ที่เรียกว่า gravity system และ ระบบรับแรงด้านข้าง ที่เรียกว่า lateral system พวกปล่อง lift หรือบันไดหนีไฟ

– แรงแผ่นดินไหวที่เราคำนวณออกมา ใส่ใน model กระทำกับอาคาร ขึ้นกับประเภทของระบบรับแรงด้านข้าง (lateral system) โดยแต่ละประเภทของระบบรับแรงด้านข้าง “หากทำ detail ตามที่กำหนดไว้ ที่เรียกว่า prequalified” จะมีความเหนียวที่ไม่เท่ากันในแต่ละระบบ ความเหนียว (R) จะนำไปหาร แรงที่พิจารณาตามเงื่อนไขในประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ หรือหมายความว่า

หากเราไม่ทำ detail ตาม มยผ. 1304 ค่าแรงที่ได้จะไม่เป็นไปตามประกาศกระทรวงฯ แผ่นดินไหว ที่อ้างอิงจากกฏกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564

ยังไงลองศึกษาเบื้องต้นดูก่อนนะครับ เดี๋ยวมีโอกาสจะขยายความในรายละเอียดต่อไป

#ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

#ออกแบบโครงสร้างเหล็กต้านทานแผ่นดินไหว

#WeLoveSteelConstruction

01
02
03
04
05
06
07
08
09

สำหรับช่องทางการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ และข้อมูลข่าวสาร ความรู้  ในรูปแบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เหล็กเพื่องานก่อสร้าง ของทางบริษัทฯ ยังมี Facebook Page และ Youtube Channel และ Line Officail Account ชื่อ “WeLoveSteelConstruction” นอกจากนี้ทาง บริษัทฯ ยังมีงานสัมมนาประจำปีที่มีเนื้อหาการบรรยายดี ๆ เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างด้วยเหล็ก รายละเอียดสามารถคลิกตามลิ้งค์ข้างล่างได้เลยครับ

#WeLoveSteelConstruction_Facebook

#WeLoveSteelConstruction_Youtube

#SSISteelConstructionForum

#WeLoveSteelConstruction_Line





Spread the love

Leave a Reply