ตัวอย่าง การคำนวณแรงลม และการถ่ายแรงลมเข้าสำหรับอาคารสูงปานกลาง

สำหรับเรื่องของแรงลมในโพสต์เก่าๆ ก่อนหน้านี้ เราได้พูดถึง การคำนวณแรงลม สำหรับอาคารเตี้ย (low-rise building) ทั้งตามวิธีของ มยผ. 1311 และ ASCE 7 กันไปค่อนข้างมากแล้ว รวมไปถึง การคำนวณแรงลม ที่กระทำกับหลังคารูปแบบต่างๆ เช่น หลังคาทรงโดม และทรง…

ออกแบบ อาคารโครงสร้างเหล็ก เตี้ยและสูงปานกลาง ยังไงให้ประหยัด…?

เนื้อหาในหัวข้อนี้ จะอ้างอิงจาก AISC Design Guide เล่มที่ 5 นะครับ ซึ่งเนื้อหาหลักๆ ก็จะเป็นเรื่องของ design rules for economy หรือ กฎในการออกแบบ อาคารโครงสร้างเหล็ก ให้เกิดความประหยัดคุ้มค่ามากที่สุดนั่นเอง และเทคนิคการออกแบบในเรื่องต่างๆ ด้วย…

วิธีการ แปลงความเร็วลม ที่คาบเวลากลับต่าง ๆ ตาม มยผ. 1311

หากต้องการใช้ load combination ตาม ASCE 7-05 แล้ว อย่างแรกเลย ถือว่าเป็นสิ่งที่เน้นย้ำกันอยู่ตลอด ก็คือ จะต้องเปลี่ยนความเร็วลมจากเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ให้เป็น 3 วินาทีเสียก่อน ซึ่งใน มยผ. ส่วนอธิบายเพิ่มเติมก็ได้บอกไว้ว่าให้ทำการคูณด้วย 1.52 ยกตัวอย่างเช่น หากพิจารณาออกแบบอาคารในพื้นที่ กรุงเทพฯ ความเร็วลมเฉลี่ยที่ระบุจะมีค่าเท่ากับ 25 m/s จากนั้นทำการคูณด้วย 1.52 >> 25 x 1.52 = 38 m/s ครับ หากลองไปเปิดดูใน ASCE 7-05 ก็จะเห็นว่ามีค่าเท่ากันเป๊ะเลย