หลักการของ Base plate connection vs. End plate connection

ในโพสต์นี้ จะนำเสนอถึง ความใกล้เคียงกัน ในการพิจารณา Base plate connection และ End plate connection นะครับ ว่ามันหลักการที่ใกล้เคียงกัน คืออะไร หลังจากที่ได้ปูพื้นถึง ความแตกต่างระหว่าง1. Shear connection vs. Moment…

การออกแบบ Base plate ที่ต้องรับโมเมนต์ขนาดเล็ก

ต่อเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ ที่เป็นเรื่องของ การออกแบบ base plate (แผ่นเหล็กรองใต้เสา) ที่ต้องรับ moment ขนาดใหญ่ หรือ large moment นะครับ การพิจารณาดังกล่าวนั้นจะมีความซับซ้อนที่ค่อนข้างมากหน่อย เนื่องจากเราสามารถโมเมนต์ที่เกิดขึ้นมีขนาดใหญ่ ทำให้ระยะของแรงที่เกิดขึ้นนั้น มีความยากลำบากในการพิจารณา พร้อมกับ bolt (สลักเกลียว)…

Concept การคำนวณ Base Plate ที่ต้องรับโมเมนต์ขนาดใหญ่ (Base Plate with Large Moment)

การออกแบบ base plate (แผ่นเหล็กรองใต้เสา) ตามทฤษฎีแล้วจะแบ่งการพิจารณาไว้ค่อนข้างหลายกรณีครับ เช่น รับแรงในแนวแกนอย่างเดียว ต้องรับทั้งแรงในแนวแกนและโมเมนต์ ซึ่งจะแบ่งเป็น (i.) small moment (ii.) large moment ต้องรับแรงเฉือน เป็นต้น ซึ่งในโพสต์นี้ก็จะเป็นพูดถึงเรื่องของการพิจารณา base plate…

การออก Base Plate for Compressive Axial & Tensile Axial Loads (LRFD)

ในอาคารทั่วๆไป เช่น บ้านหรือสำนักงานต่างๆ เราจะพิจารณาแรงกด P (Axial Force) ที่ถ่ายลงมาจากเสาไปยัง Base Plate แล้วจึงเอาไปคำนวณหาความหนาของ Base Plate และคำนวณค่า Strength ของคอนกรีต แต่ในอาคารประเภทโรงงานหรือโกดังเก็บของที่มีช่องเปิดแล้วแรงดันลมภายในที่เป็นแรง uplift จะส่งผลให้เกิดแรงดึงขึ้นที่ column base plate ซึ่งทำให้ต้องพิจารณาและออกแบบด้วยวิธีที่ต่างกับส่วนที่รับแรงอัดเพียงอย่างเดียว