หลักการออกแบบเพื่อเสถียรภาพ

หลักการออกแบบเพื่อเสถียรภาพ การเปลี่ยนผ่านต้องใช้เวลา อาจนานเป็นหลัก generation ประเด็นนี้ American Institute of Steel Construction หรือ AISC เคยประสบพบเจอมาหลายรอบแล้ว หลักๆ ช่วงราวปลายยุค 90 ที่มีการเปลี่ยนผ่านวิธีการคำนวณ โดยพิจารณา #ความเค้น หรือ #หน่วยแรงที่เกิดขึ้น เทียบกับ…

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ Design for stability Ep5

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ Design for stability Ep5 อ้างอิง มาตรฐาน AISC 360-16 Chapter C2: Calculation of Required Strength มาต่อใน C2.2 การพิจารณาการเสียรูปตั้งแต่เริ่มต้น Consideration of…

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ design for stability Ep4

เสถียรภาพ stability : อ้างอิง มาตรฐาน AISC 360-16 Chapter C2: Calculation of Required Strength อันดับแรกที่ต้องทำความเข้าใจก่อน คือ นิยามของ Required Strength ว่าเป็น “กำลังที่ต้องการ” จากโครงสร้าง…

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ design for stability Ep3

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ Design for stability Ep3 จากที่ได้นำเสนอในเชิงพฤติกรรมของ member ที่มีผลต่อการสูญเสียเสถียรภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เสา (compression member) ไป 2 ตอนแล้ว ตอนนี้จะ “งงๆ” หน่อยนะครับ คือจะมาว่ากันด้วย “design…

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ design for stability Ep2

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ Design for stability Ep.2 (เนื้อหาจากการบรรยาย SSI Steel Construction Forum) จากคราวก่อนที่เราสรุปไว้ว่า 1) #Stiffness ของ member ที่เกิดการดัดตัวเมื่อรับแรง คือ EI และ L…

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ design for stability Ep1

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพ design for stability Ep.1 (เนื้อหาจากการบรรยาย SSI Steel Construction Forum) ก่อนจะไปสู่ขั้นตอนการพิจารณาขออ้างอิงพื้นฐานจากงานสัมมนา หัวข้อ “Analysis and Design of Combined Axial-Bending Members with…