การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

สำหรับเนื้อหาในวันนี้จะเป็น การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหว ที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ซึ่งอยากจะนำเสนอให้ได้เห็นกันว่า สำหรับอาคารประเภทนี้แล้ว แรงทางด้านข้างที่จะต้องพิจารณาเป็นหลัก คือ แรงลมหรือแรงแผ่นดินไหวกันแน่ การออกแบบอาคารที่มีลักษณะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า โดยปกติแล้ว นอกจาก dead load live load และ roof live load ที่กระทำกับอาคารแล้ว…

หลักในการคำนวณแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับโครงสร้าง (Seismic load for building design)

พื้นฐานสำคัญที่วิศวกรผู้ออกแบบต้องเข้าใจ ตอนที่ 2 จากตอนที่ 1 ที่กล่าวถึงพื้นฐานการที่เกี่ยวข้องกับผลตอบสนองของโครงสร้างจากการสั่นของพื้นดิน ต่อคุณสมบัติทางพลศาสตร์ของอาคารที่เรียกว่า คาบการสั่นธรรมชาติ หรือ natural period ที่ส่งผลให้แรงที่กระทำของโครงสร้างแตกต่างกัน ตามปรากฏการณ์ที่เรียกว่า resonance แล้ว บทความนี้จะนำเสนอต่อถึง ผลของความเหนียว (ductility, R) ของระบบรับแรงด้านข้าง…

หลักในการคำนวณแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับโครงสร้าง (Seismic load for building design)

พื้นฐานสำคัญที่วิศวกรผู้ออกแบบต้องเข้าใจ ตอนที่ 1 โดยปกติแล้วเวลาออกแบบโครงสร้าง ผู้ออกแบบจะพิจารณาฝั่งแรงแยกออกมาจากฝั่งกำลัง ฝั่งแรงก็เริ่มจากแรงภายนอกที่มากระทำ คำนวณหาแรงภายในทั้ง bending moment และ shear force ไปจนกระทั่ง axial force แล้วพิจารณาอีกฝั่งว่า มีกำลังในการรับแรงภายในดังกล่าวนี้ว่าเป็นเท่าไหร่อย่างไร ตามระดับความเสี่ยงที่มาตรฐานในการออกแบบได้แนะนำเอาไว้ ซึ่งเป็นที่ชัดเจนว่า ฝั่งแรง…