โปรแกรมออกแบบจุดต่อโครงสร้างเหล็ก (Shear Connection Design App)

สำหรับวันนี้ ทางทีมงานได้ปล่อย feature ใหม่ สำหรับการออกแบบ shear connection ใน โปรแกรมออกแบบจุดต่อโครงสร้างเหล็ก SSI Steel Design ซึ่งเป็นรูปแบบที่เรียกว่า shear tab ครับ สำหรับท่านใดที่มีแอพพลิเคชันอยู่แล้ว ก็สามารถที่จะอัพเดทได้ทาง app store…

คำนวณออกแบบ truss ด้วยวิธี Method of Section

สำหรับโครงสร้าง truss อย่างที่เราทราบกันดีว่า การถ่าย load ภายนอกที่กระทำนั้น จะส่งผลให้เกิดแรงภายในที่มีลักษณะเป็นแรงตามแนวแกน หรือว่า axial force ทั้งแรงอัด (compression) และแรงดึง (tension) ซึ่งการ คำนวณออกแบบ truss นั้น สามารถทำได้หลายวิธี โดยเริ่มจากการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อหาแรงภายในที่เกิดขึ้น…

พื้นฐานการวิเคราะห์โครงสร้าง (Fundamental of Structural Analysis)

เรื่องของ พื้นฐานการวิเคราะห์โครงสร้าง นั้น ถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ ไม่น้อยไปกว่าการออกแบบโครงสร้างเลยนะครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเข้าใจ load path ไปจนถึงการมองภาพของ deflected shape ให้ออก ซึ่งหากเรามีความรู้ พื้นฐานการวิเคราะห์โครงสร้าง ที่แน่นแล้ว ก็จะช่วยให้การใช้ software ต่างๆ นั้นสามารถทำได้ง่ายขึ้น…

การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัว (Deflection Controlled Design)

เจ้าของโครงการ สถาปนิก หรือกระทั่งวิศวกรผู้ออกแบบหลายท่านอาจมีความสับสนว่า การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัว นั้น เป็นข้อกำหนดที่ควบคุมตามกฎหมาย หรือเป็นเงื่อนไขในการออกแบบเพื่ออำนวยให้เกิดความปลอดภัย ซึ่งอาจไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องมากนัก ประเด็นที่น่าสนใจเรื่อง การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัว 1. การออกแบบเพื่อควบคุมการแอ่นตัวเป็นการออกแบบเพื่อการใช้งานได้ดี หรือ serviceability design เป้าหมายคือ เพื่อ อำนวยให้ผู้ใช้งานอาคารรู้สึกสบายใจ ไม่รู้สึกหวาดกลัวเมื่อเห็นการแอ่นตัวมากๆ รำคาญใจเมื่อแอ่นตัวจนเกิดน้ำรั่วซึมเข้าตัวอาคาร…

พื้นฐานในการคำนวณแรงลม

ว่าด้วยเรื่องของแรงลม ถึงแม้ว่าเราจะได้ post นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวิธีในการพิจารณาแรงลมที่กระทำกับตัวอาคารไปพอสมควรนะครับทาง FB page SSI Love Steel Construction หลายท่านก็เข้าใจ บางท่านก็ได้ให้ความเห็นดีๆ educate พวกเราทำให้เราเข้าใจมากยิ่งขึ้น บางท่านก็ยังมีข้อสงสัยอยู่ เลยอยากนำเรื่อง wind load มานำเสนออีกครั้ง เพื่อที่จะอธิบายถึง…

การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

สำหรับเนื้อหาในวันนี้จะเป็น การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหว ที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ซึ่งอยากจะนำเสนอให้ได้เห็นกันว่า สำหรับอาคารประเภทนี้แล้ว แรงทางด้านข้างที่จะต้องพิจารณาเป็นหลัก คือ แรงลมหรือแรงแผ่นดินไหวกันแน่ การออกแบบอาคารที่มีลักษณะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า โดยปกติแล้ว นอกจาก dead load live load และ roof live load ที่กระทำกับอาคารแล้ว…

กฎหมายด้าน อัตราการทนไฟของอาคารโครงสร้างเหล็ก และราคาของวัสดุป้องกันไฟ

เรื่องกฎหมายด้าน อัตราการทนไฟของอาคารโครงสร้างเหล็ก (ทั้งเสาและคาน) นี้ เป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ สำหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างบ้านเรา ที่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้งานก่อสร้างด้วยโครงสร้างเหล็กนั้น ไม่สามารถที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาการไปได้อย่างที่ควร เนื่องจากติดข้อจำกัดที่ว่า ในอาคารที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมาหน่อย (หลายประเภท) ยกตัวอย่างเช่น คลังสินค้า คอนโด โรงแรม โรงพยาบาล หรืออาคารพาณิชย์ต่างๆ นั้น จะต้องมีอัตราการทนไฟให้ได้ อย่างน้อย…

ภาพรวม แนวปฏิบัติเพื่อการออกแบบอาคารเหล็กสำเร็จรูป สำหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

หลายท่านอาจจะได้เห็นผ่านตากันบ้างแล้วนะครับว่า ทางทีมงานกำลังจะมีการจัดงานสัมมนา SSI Steel Construction Virtual Forum ขึ้น และจะมีการแจก “ แนวปฏิบัติเพื่อการออกแบบอาคารเหล็กสำเร็จรูป สำหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า” ให้กับผู้สมัครเข้าร่วมงานทุกท่านเพื่อเป็นของสัมมนาคุณ นะครับ ทีนี้ก็เลยอยากจะมาเล่าภาพรวมของเนื้อหาในเล่มนี้ให้ทุกท่านได้ทราบกันคร่าวๆ ก่อน ว่ามีเนื้อหาที่น่าจะเป็นประโยชน์อะไรบ้าง เผื่อว่าบางท่านอาจจะไม่ได้เข้าร่วมงาน ก็อาจจะไปซื้อจาก วสท….

หลักในการออกแบบ Cold-Formed Purlin

วันนี้เราลองมาดูวิธีการออกแบบ cold-formed purlin กันสักนิดครับว่า หากต้องการคำนวณด้วยมือแล้ว สามารถทำได้ยากหรือง่ายอย่างไร แต่อย่างที่เคยเรียนให้ทุกท่านทราบไปว่า การออกแบบ cold-formed section นั้น จะต้องมีความเชี่ยวชาญและชำนาญพอสมควร เนื่องจากการออกแบบหน้าตัดคานที่มีความบางค่อนข้างมาก และมีการพับขึ้นรูปเป็นให้มีส่วนเขี้ยวที่ทำให้หน้าตัดไม่ได้สมมาตรกันทั้ง 2 แกน อีกทั้งพฤติกรรมของตัว member เองก็ยังต้องมีการพิจารณาที่แตกต่างกันออกไปอีก ย้อนอ่านได้ทาง…

หลักในการออกแบบ moment connection สำหรับเสาเหล็ก HSS (Beam Over HSS Column)

จากโพสต์ก่อนหน้านี้ ที่ทางทีมงานได้นำเสนอหลักในการออกแบบและตัวอย่างการคำนวณ flange plate moment connection ไป สำหรับวันนี้ เลยอยากจะนำเสนอ moment connection อีกรูปแบบที่ค่อนข้างน่าสนใจ และเหมาะที่จะนำมาใช้ร่วมกับเสาที่มีลักษณะเป็นแบบเหล็กรูปพรรณกลวง หรือ Hollow Steel Section, HSS ( moment…