Blog

โครงข้อหมุน (Truss) การออกแบบโครงหลังคาที่มีแรงลมมากระทำ

สำหรับตัวอย่างการคำนวณ โครงข้อหมุน (Truss) จากครั้งก่อนๆ ที่เคยทำตัวอย่างในการหา (1.) Reaction (2.) Internal force ที่เกิดขึ้นในแต่ละ member และ (3.) ออกแบบเพื่อเลือกหน้าตัดเหล็กที่เหมาะสม ซึ่งตัวอย่างเหล่านั้นจะเป็นเพียงการพิจารณาเพียง dead load และ roof…

PostConnex ™ นวัตกรรมจุดต่อสำหรับพื้นคอนกรีตอัดแรงกับเสาเหล็ก

สำหรับโพสต์นี้อยากขอนำเสนอ นวัตกรรมโครงสร้างเหล็ก ที่มีชื่อว่า “PostConnex” ให้กับทุกท่านได้รู้จักกันครับ เผื่อว่าจะมีท่านใดสนใจ การก่อสร้างอาคารด้วยระบบพื้นคอนกรีตอัดแรงรูปแบบใหม่ โดยนวัตกรรมนี้ เป็นนวัตกรรมที่ทางพวกเราได้คิดค้นขึ้นมา ซึ่งเป็นการนำ “เสาเหล็ก” ไปใช้งานร่วมกับพื้น post-tension หรือระบบพื้นอัดแรง อย่างที่ได้เคยนำเสนอไปก่อนหน้านี้ในโพสต์ก่อนๆ 5 ตอน ที่ได้พูดถึงข้อดีของระบบพื้น post-tension และเสาเหล็ก…

การออกแบบ โครงถัก (Truss) สำหรับหลังคา

เนื่องจากเห็นหลายๆ ท่านให้ความสนใจกับการออกแบบ โครงถัก หรือ truss เป็นจำนวนมากนะครับ วันนี้ก็เลยหยิบเนื้อหามามาคุยกันนิดนึง แล้วก็ทำตัวอย่างการหาแรงภายในและการหากำลังรับแรงของ member เข้ามาด้วยทีเดียวนะครับ ซึ่งในช่วงหลังๆ นี้เราจะเน้นเนื้อหาที่มีตัวอย่างการคำนวณเข้ามาด้วย เพราะพอจะเข้าใจว่าตัวอย่างค่อนข้างจะหายากนะครับ สำหรับการพิจารณาออกแบบ โครงถัก (truss) ตามทฤษฎีแล้ว จะตั้งสมมติฐานว่าแรงที่เกิดขึ้นใน member จะมีเฉพาะแรงในแนวแกนเท่านั้น…

ตัวอย่างการคำนวณโครงสร้าง Truss อย่างละเอียด

สำหรับโพสต์นี้จะเป็นตัวอย่างการคำนวณ Truss (หรือที่เราเรียกกันว่าโครงข้อหมุน / โครงถัก) ด้วยมือ และการเลือก section ที่เหมาะสมนะครับ เนื่องจากเมื่อ 2 วันก่อน มีน้องนักศึกษาคนหนึ่งทักเข้ามาใน inbox ว่าอยากได้ตัวอย่างการคำนวณไปใช้เป็นตัวอย่างในการทำปริญญานิพนธ์ ทางทีมงานก็ไม่รอช้า จัดทำออกมาให้เป็นตัวอย่าง เพื่อให้น้องๆ ได้ concept…

สะพานโครงสร้างเหล็ก (steel bridges) เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ด้วยความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น หรือ JTEPA (Japan-Thailand Economic Partnership Agreement) ได้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ด้านงานโครงสร้างเหล็ก รวมไปถึงงาน สะพานโครงสร้างเหล็ก จากผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุ่นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 โดยในส่วนของงานสะพานโครงสร้างเหล็ก ก็ได้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ในมิติต่าง ๆ ตั้งแต่ นโยบายด้านการบริหารจัดการ ผลิตภัณฑ์และวัสดุที่ใช้…

การระบุ ช่องเปิดอาคาร ตาม ASCE 7-05

เมื่อวานได้มีโอกาสคุยกับน้องคนนึงถึงเรื่องการระบุ ช่องเปิดอาคาร ที่ถูกออกแบบให้ใช้งานเป็นอาคารโกดัง / คลังสินค้า ตาม ASCE7 ว่าจะตีความว่าอย่างไร ซึ่งในโพสต์นี้จะขออ้างอิง ASCE7 ปี 2005 นะครับ หรือ ASCE 7-05 ซึ่งหลายท่านน่าจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เพราะว่า มยผ.1311 ก็ได้อ้างอิง…

ตัวอย่าง การคำนวณแรงลม และการถ่ายแรงลมเข้าสำหรับอาคารสูงปานกลาง

สำหรับเรื่องของแรงลมในโพสต์เก่าๆ ก่อนหน้านี้ เราได้พูดถึง การคำนวณแรงลม สำหรับอาคารเตี้ย (low-rise building) ทั้งตามวิธีของ มยผ. 1311 และ ASCE 7 กันไปค่อนข้างมากแล้ว รวมไปถึง การคำนวณแรงลม ที่กระทำกับหลังคารูปแบบต่างๆ เช่น หลังคาทรงโดม และทรง…

AISC ยกเลิก K factor ในการ ออกแบบเสาเหล็ก / compression member !!!

เรื่องนี้หลายท่านอาจยังไม่ทราบ ว่าเรา กำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน จากการคำนวณ ออกแบบเสาเหล็ก และ compression member อื่นๆ ด้วยวิธีการเก่าๆ ที่เราคุ้นเคย คือการหาค่า K = effective length factor แล้วมาหา KL/r ของเสา…

การ ป้องกันสนิม ด้วยวิธีการทาสี VS ชุบกัลวาไนซ์ อะไรดีกว่ากัน ?

ถ้าท่านทำงานโครงสร้างเหล็กท่านคงจะเจอคำถามนี้บ่อยพอสมควร เป็นคำถามที่ตอบได้ยากเหมือนกันนะครับเพราะทั้ง 2 วิธีนี้ ล้วนแต่เป็นวิธีที่สามารถ ป้องกันสนิม ได้ทั้งคู่ แต่ทั้ง 2 วิธีกลับมีวิธีในการป้องกันสนิมที่แตกต่างกัน และต้นทุนในการทำก็แตกต่างกัน ซึ่งก็ต้องชั่งน้ำหนักกันระหว่างประโยชน์ที่ได้รับกับราคาที่ต้องจ่ายไป ที่เรียกว่า benefit/cost ratio เหตุผลพื้นฐานในการเกิดสนิม ธรรมชาติของเหล็กนั้นจะไม่ค่อยเสถียรในแง่ไฟฟ้าเคมี เหล็กที่เราเห็นอยู่นี้จะเสถียรมากๆ ในรูปฟอร์มของสินแร่ที่เรียกว่าเหล็กออกไซด์ สีแดงๆ…

ตัวอย่างการออกแบบ anchorage รับแรงถอน

อย่างที่หลายๆ ท่านพอจะทราบกันดีว่าในการออกแบบส่วนเชื่อมต่อระหว่างส่วนโคนของเสาโครงสร้างและตอม่อสำหรับอาคารโรงงานหรือโกดังเก็บสินค้า นอกจากการที่เราจะต้องออกแบบ base plate เพื่อรับแรงกดและโมเมนต์แล้ว ในบางกรณีเราจำเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงแรงถอน ที่กระทำกับ anchorage อันเนื่องมาจากปัจจัยหลายๆอย่าง อาทิเช่น แรงลม ที่อาจก่อให้เกิดแรงดูดที่หลังคาของอาคาร หรือแรงผลักที่ทำให้เกิดการพลิกคว่ำ หรือ turning over ของอาคาร แรงเหล่านี้ถือเป็นแรงถอนประเภทหนึ่ง ที่จะเดินทางผ่าน…