Blog

ระบบพื้น post-tension คืออะไร?

ระบบพื้น post-tension ก็คือ ระบบพื้นที่ไร้คาน ที่ใช้เทคนิคการอัดแรงภายหลังเข้ามาช่วยในการก่อสร้าง เพื่อให้โครงสร้างพื้นมีลักษณะที่โก่งขึ้น (เหมือนคานหน้าบึ้ง) ทำให้ความสามารถในการรับน้ำหนักที่มากขึ้น เกิดการแอ่นตัวที่น้อยลง และไม่จำเป็นต้องมีคานมารับพื้นเพื่อที่จะให้คานถ่ายน้ำหนักลงไปที่เสา ซึ่งโดยมากแล้วจะนิยมใช้กับการก่อสร้างอาคารที่ต้องการ clear space มากๆ และเป็นโครงสร้างช่วงยาว (ระยะเสาถึงเสา เยอะๆ) เช่น อาคารจอดรถ คอนโดมิเนียม โรงแรม ศูนย์การค้าต่างๆ อาคารสำนักงานเป็นต้น

ศิลปะในการออกแบบโครงสร้างเหล็ก (Steel Design: State of The Art)

rule of thumb ของการออกแบบเสาเหล็ก จะเป็น 1 : 1 ซึ่งก็หมายถึง ความกว้างต่อความลึก ควรจะมีค่าเท่าๆ กัน เช่น หากเลือกใช้ H-Beam ก็ควรเลือกใช้หน้าตัดที่มีความกว้างและความยาว เช่น 100 x 100 mm. หรือ 200 x 200 mm. อะไรแบบนี้เป็นต้น  ซึ่งการทำเช่นนี้ก็จะทำให้เราได้ค่า ry ขึ้นมาเยอะหน่อย …. แต่อย่างไรก็ดี ก็ยังไม่มากเท่าไหร่นัก

การออกแบบ End-plate connection

End-plate connection เหมือนจะยาก แต่ก็ไม่เกินกำลังผู้ออกแบบไทย ภาพรวม Extended end-plate moment connection หรือ เรียกสั้นๆ ว่า end plate นี้ เป็นระบบที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในงานก่อสร้างอาคารโกดัง โรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า กลุ่ม PEB ที่หลายท่านรู้จัก…

โรงงานสำเร็จรูป คืออะไร มีจุดเด่นอย่างไรบ้าง ?

โรงงานสำเร็จรูป คือ โรงงานหรือโกดังรูปแบบหนึ่งที่ใช้กระบวนการก่อสร้างโดยการเตรียมวัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง และอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามการออกแบบของโครงสร้างโรงงานไว้ล่วงหน้า แล้วจึงนำไปประกอบและติดตั้งที่หน้างานหรือสถานที่ตั้งของโรงงานตามที่กำหนด ซึ่งมีให้เลือกด้วยกันหลากหลายประเภท หลากหลายขนาดตามความต้องการของลูกค้า  ใจปัจจุบันโกดังสำเร็จรูปได้รับการพัฒนาให้ตอบโจทย์การใช้งานของผู้ประกอบการโรงงานต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งถือเป็นหนึ่งในรูปแบบของการก่อสร้างที่จะเข้ามาแทนการดำเนินการก่อสร้างโรงงานด้วยเจ้าของเอง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ สังเกตได้จากธุรกิจให้บริการก่อสร้างโรงงานสำเร็จรูปที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง หากใครกำลังหาข้อมูล และสนใจในการก่อสร้างโรงงานสำเร็จรูป วันนี้ทางทีมงาน…

เสียเวลาเปิดคอมทำไม ใช้ SSI Steel Design แอพพิลเคชั่นออกแบบโครงสร้างเหล็ก ง่ายกว่า!

ในการทำงานสำหรับวิศวะกรออกแบบโครงสร้าง ไม่ว่าจะเป็นวิศวะโยธา วิศวะ จำเป็นจะต้องมีการคำนวณแบบ คำนวณน้ำหนักโครงสร้าง และคำนวณปริมาณเหล็ก เพื่อใช้ในการยื่นขอแบบ ซึ่งจะต้องมีการใช้โปรแกรมคํานวณโครงสร้างเหล็ก แต่รู้ไหมว่าตอนนี้มี Mobile App ที่จะช่วยให้การคำนวณเหล็กเบื้องต้นทำได้ง่ายๆ จากมือถือคุณได้ทันที ที่สำคัญรองรับทั้ง iOS และAndroid อีกด้วย   SSI Steel…

มองหา แอพออกแบบโครงสร้างเหล็ก ห้ามพลาด กับ 3 ฟีเจอร์ใหม่ที่เพิ่งปล่อยในปีนี้

เชื่อว่าหลายคนคงหา โปรแกรมคำนวณโครงสร้างเหล็ก เพื่อมาใช้สำหรับวิชาเรียน หรืองานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน ซึ่ง SSI Steel Design เป็น Mobile Application ที่ช่วยอำนวยความสะดวก สามารถพกไปได้ทุกที่ ไม่ต้องเปิดคอมให้วุ่นวาย หากใครที่เจอบทความนี้แต่ยังไม่รู้ว่า SSI Steel Design คืออะไร และจะมาช่วยการคำนวณโครงสร้างเหล็กได้ยังไง จะขอเล่าคร่าวๆ เกี่ยวกับโปรแกรมสักนิดนึงก่อนไปที่ฟีเจอร์ใหม่นะครับ

Pre-Engineered Building หรือ PEB คืออะไร?

ประวัติความเป็นมาของ PEB สำหรับความเป็นมาของ Pre-engineered building เริ่มต้นเมื่อทศวรรษที่ 1960 ซึ่งอาคารดังกล่าวถูกเรียกว่า pre-engineered เพราะว่ามันถูกออกแบบตามมาตรฐานเชิงวิศวกรรมที่ผู้ผลิตมีการกำหนดขนาดมิติ รูปร่าง และรูปทรงของตัวอาคารไว้ก่อนล่วงหน้า โดยรูปแบบของโครงสร้างหลัก (Primary structure) จะเป็นโครงข้อแข็ง (Steel portal frame or Rigid…

แนวโน้มราคาเหล็ก

แนวโน้มราคาเหล็ก ในประเทศ เฉลี่ยแต่ละเดือน 10 เดือนที่ผ่านมา อ้างอิงข้อมูล แนวโน้มราคาเหล็ก จาก บจก. KTM Steel ขออนุญาตนำข้อมูลที่ distributor รายหนึ่งรวบรวมราคาขายของเขา มาเรียนให้ท่านวิศวกรและผู้รับเหมาได้รับทราบพอเป็นข้อมูลนะครับ เอาว่า ส่วนใหญ่แล้ว ราคาเหล็กมันร้อนแรงกว่าหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ สะท้อน “ความเสี่ยง”…

แรงบิดและกำลังรับแรงบิดของโครงสร้างเหล็ก (torsional analysis of structural steel members)

หากจะพูดถึงเรื่อง torsion หรือว่าการบิดแล้ว มีสิ่งหนึ่งที่จะต้องพูดถึงและทำความรู้จักกันก่อน นั่นก็คือ shear center ครับ โดย shear center นี้ เป็นจุดที่เมื่อมีแรงกระทำกระทำกับ steel member ของเรา แล้วแรงกระทำนี้กระทำผ่านจุด shear center ก็จะทำให้หน้าตัดเหล็กของเราไม่เกิดการบิด…