งานก่อสร้าง โครงถักขนาดใหญ่ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ด้วยวิธีการสไลด์

โครงถักขนาดใหญ่ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ : อาคาร ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ แห่งใหม่นี้ สร้างบนพื้นที่ของศูนย์ประชุมแห่งเดิม แต่เพิ่มพื้นที่ใช้สอยให้มากยิ่งขึ้นด้วยการ ขุดพื้นที่ชั้นใต้ดินสำหรับเป็นพื้นที่จอดรถ ซึ่งศูนย์ประชุมแห่งเดิมนั้นที่จอดรถมีจำนวนที่จำกัดมาก และก่อสร้างเต็มพื้นที่เดิม โดยมีข้อจำกัดที่สำคัญคือ “เวลา” ที่ต้องเร่งรัดให้ทันต่อการประชุมผู้นำความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) ซึ่ง…

คำนวณออกแบบ truss ด้วยวิธี Method of Section

สำหรับโครงสร้าง truss อย่างที่เราทราบกันดีว่า การถ่าย load ภายนอกที่กระทำนั้น จะส่งผลให้เกิดแรงภายในที่มีลักษณะเป็นแรงตามแนวแกน หรือว่า axial force ทั้งแรงอัด (compression) และแรงดึง (tension) ซึ่งการ คำนวณออกแบบ truss นั้น สามารถทำได้หลายวิธี โดยเริ่มจากการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อหาแรงภายในที่เกิดขึ้น…

หลักในการ วิเคราะห์โครงสร้าง Cantilever Structure

Cantilever Truss vs. Braced Frame สำหรับเรื่องของการ วิเคราะห์โครงสร้าง จะขอเริ่มด้วยการเปรียบเทียบให้เห็นถึงพฤติกรรมที่คลายคลึงกันระหว่าง Cantilever beam และ Shear wall กันก่อนนะครับ จากรูปด้านล่างนี้ รูปด้านซ้าย … เมื่อคานยื่น หรือ Cantilever…

Truss model โครงถักกับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

ได้มีโอกาสนำเสนอเรื่องราวของ “โครงข้อหมุน” หรือ “โครงถัก” หรือ truss ไปบ้างพอสมควร ซึ่งดูเหมือนว่าหลายๆ ท่านได้ให้ความสนใจ เหตุผลสำคัญประการหนึ่งน่าจะเป็นเพราะการออกแบบและการใช้งาน truss ที่ทำจากโครงสร้างเหล็กนั้น เป็นที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในบ้านเรา บทความนี้อาจจะแตกต่างออกไปจากบทความก่อนๆ นิด แต่ท่านทราบไหมครับว่า หลักในการวางเหล็กเสริมนั้น อาจจะพิจารณาโดยใช้ truss model…

โครงข้อหมุน (Truss) การออกแบบโครงหลังคาที่มีแรงลมมากระทำ

สำหรับตัวอย่างการคำนวณ โครงข้อหมุน (Truss) จากครั้งก่อนๆ ที่เคยทำตัวอย่างในการหา (1.) Reaction (2.) Internal force ที่เกิดขึ้นในแต่ละ member และ (3.) ออกแบบเพื่อเลือกหน้าตัดเหล็กที่เหมาะสม ซึ่งตัวอย่างเหล่านั้นจะเป็นเพียงการพิจารณาเพียง dead load และ roof…

การออกแบบ โครงถัก (Truss) สำหรับหลังคา

เนื่องจากเห็นหลายๆ ท่านให้ความสนใจกับการออกแบบ โครงถัก หรือ truss เป็นจำนวนมากนะครับ วันนี้ก็เลยหยิบเนื้อหามามาคุยกันนิดนึง แล้วก็ทำตัวอย่างการหาแรงภายในและการหากำลังรับแรงของ member เข้ามาด้วยทีเดียวนะครับ ซึ่งในช่วงหลังๆ นี้เราจะเน้นเนื้อหาที่มีตัวอย่างการคำนวณเข้ามาด้วย เพราะพอจะเข้าใจว่าตัวอย่างค่อนข้างจะหายากนะครับ สำหรับการพิจารณาออกแบบ โครงถัก (truss) ตามทฤษฎีแล้ว จะตั้งสมมติฐานว่าแรงที่เกิดขึ้นใน member จะมีเฉพาะแรงในแนวแกนเท่านั้น…

ตัวอย่างการคำนวณโครงสร้าง Truss อย่างละเอียด

สำหรับโพสต์นี้จะเป็นตัวอย่างการคำนวณ Truss (หรือที่เราเรียกกันว่าโครงข้อหมุน / โครงถัก) ด้วยมือ และการเลือก section ที่เหมาะสมนะครับ เนื่องจากเมื่อ 2 วันก่อน มีน้องนักศึกษาคนหนึ่งทักเข้ามาใน inbox ว่าอยากได้ตัวอย่างการคำนวณไปใช้เป็นตัวอย่างในการทำปริญญานิพนธ์ ทางทีมงานก็ไม่รอช้า จัดทำออกมาให้เป็นตัวอย่าง เพื่อให้น้องๆ ได้ concept…