เหตุการณ์ภัยพิบัติจากการพังถล่มของโครงสร้างที่ถือเป็นไฮไลท์ของปี 2022 (Structural Collapse of 2022)

การพังถล่มของโครงสร้างที่ถือเป็นไฮไลท์ของปี 2022 ปีที่ผ่านมาเราได้เจอเหตุการณ์โครงสร้างเหล็กพังถล่มปีที่ผ่านมา สำคัญๆ 2 เหตุการณ์ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 เกิดเหตุการณ์ค้ำยันนั่งร้านระบบลิ่มล๊อค Ring Lock ที่รองรับการเทคอนกรีตโครงการ One Bangkok เกิดการพังวิบัติระหว่างการเทคอนกรีต ซึ่งเราได้เรียนรู้หลักการทางทฤษฎีว่า ในการออกแบบระบบองค์อาคารรับแรงอัด แม้ว่าเงื่อนไขพื้นฐานจะไม่มีแรงทางข้าง…

การออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คานร่วมกับเสาท่อเหล็ก

การออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คานร่วมกับเสาท่อเหล็ก : จากที่ได้เคยนำเสนอถึงหลักในการออกแบบระบบพื้นคอนกรีตอัดแรง ว่าเป็นการใส่แรงภายในให้เกิดขึ้นกับโครงสร้างในทิศทางตรงข้ามกับแรงภายในที่เกิดจากแรงภายนอกด้วยการอัดแรงให้กับลวดอัดแรง ได้โดยไม่ต้องเพิ่มขนาด เพิ่มกำลังคอนกรีต หรือปริมาณเหล็กเสริมให้มากขึ้นจากเดิม ซึ่งโดยทั่วไป การจัด profile ของลวดอัดแรงก็จะสะท้อนกับลักษณะของ bending moment diagram ของ flexural member ไม่ว่าจะเป็นคานหรือแผ่นพื้นก็ตาม หลังจากนั้นจึงทำการเทคอนกรีตและบ่มคอนกรีตจนได้กำลังตามที่กำหนด จากนั้นจึงทำการดึงลวดอัดแรง เพื่อ…

การออกแบบเสาเหล็ก

การออกแบบเสาเหล็ก : พื้นฐานของการออกแบบโครงสร้างเหล็กนั้น วิศวกรต้องเข้าใจก่อนว่า strength แตกต่างจาก stiffness โดย strength เป็นกำลัง ณ จุดที่เราขีดเส้นเอาไว้ เป็น spot เป็นจุด เช่นค่ากำลังที่ yield ก็มีค่าหนึ่ง ค่ากำลังที่ rupture…

ตัวอย่างการออกแบบระบบค้ำยันทางข้างให้กับเสาเหล็ก

เมื่อวิศวกรโครงสร้างออกแบบเสา วิศวกรจะเริ่มจากการกำหนดตัวแปรที่สำคัญในการคำนวณกำลังรับแรงของเสา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ความยาวของเสา” ซึ่งเป็น #ความยาวที่ปราศจากการค้ำยัน column unbraced length ซึ่งสะท้อนความยาวที่ #ค้ำยันทางข้างของเสาทำงานสมบูรณ์ 100% bracing capability

Composite beam 

Composite design of steel structure – Composite beam บรรยายในงานสัมมนาโดยสมาคมคอนกรีตแห้งประเทศไทย เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 65 ที่แนบมาเป็นส่วนหนึ่งที่ได้นำไปบรรยายในงานสัมมนาการออกแบบโครงสร้างคอมโพสิต ซึ่งจัดโดยสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 65 (จบไปไม่กี่นาทีที่ผ่านมาหลังจากได้ลงโพสต์นี้…

การคำนวณแรงลมอ้างอิง มยผ.1311-50

การคำนวณแรงลม อ้างอิง มยผ. 1311-50 VDO เรื่องแรงลมดูเพิ่มเติมได้จากลิ้งค์นี้ครับ https://www.youtube.com/watch?v=3LTT2x3kRWU สำหรับ low-rise building p = Iw.q.Ce.Cg.Cp โดยพิจารณาค่าสุทธิ ของแรงลมจากความดันลมภายนอก หักแรงลมจากความดันลมภายใน = pe – pi สรุป…

Wind load มยผ. vs. ASCE

Wind load มยผ. vs. ASCE VDO เรื่องแรงลมดูเพิ่มเติมได้จากลิ้งค์นี้ครับ https://www.youtube.com/watch?v=3LTT2x3kRWU หลายท่านสอบถามมาเกี่ยวกับการแปลงจาก มยผ. เป็น ASCE ก่อนอื่นต้องเรียนว่าเรามีข้อจำกัดอยู่พอประมาณนะครับในการตอบคำถามนี้ – ประการแรกคือ เราเองไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมแรงลม aerodynamic พลศาสตร์ขั้นสูง และเราก็ไม่ได้ช่ำชองด้านการพิจารณาหลักการทางสถิติมากนัก เรียกว่าพอเขาใจได้ พอถูไถไปได้…