มาตรฐานการออกแบบ สำหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

หัวข้อสัมมนา มาตรฐานออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ เล่มละ 450 บาท (350 หน้า โดยประมาณ) โดย รศ.ดร.กิจพัฒน์ ภู่วรวรรณ ประธานคณะกรรมการ่างมาตรฐานฯ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ งานสัมมนา SSI Steel Construction Forum 2022 วันพุธที่ 26…

ข้อกำหนดในการใช้งานและ การติดตั้งพุก ชนิดติดตั้งภายหลัง

ข้อกำหนดในการใช้งานและ การติดตั้งพุก ชนิดติดตั้งภายหลัง งานสัมมนา SSI Steel Construction Forum 2022 ในวันศุกร์ที่ 28 ตุลาคม โดย คุณชโนดม รัตนโชติเมธา ผจก.ผลิตภัณฑ์และการตลาดเชิงวิศวกรรม บจก.ฮิลติ (ไทยแลนด์) ……………………………………………… พุกที่ติดตั้งภายหลังนั้น…

 แนวโน้มอุตสาหกรรมก่อสร้าง ปี 2565-2566

แนวโน้มอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย 2565-2566 : โดยคุณกัญญารัตน์ กาญจนวิสุทธิ์ จาก Economic Intelligence Center (EIC) ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) หัวข้อนี้ เป็นหัวข้อพิเศษ ที่จัดขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลภาพกว้างทางด้านการบริโภค (consumption) ในด้านตลาดงานก่อสร้างของประเทศไทย เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนเชิงธุรกิจต่อไปในอนาคต การแบ่งหมวดหมู่สำหรับการเก็บรวบรวมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลนั้น EIC…

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอาคารด้วยเหล็กโครงสร้างรูปพรรณ

กรมโยธาธิการและผังเมืองจะดำเนินการ “ยกเลิก” กฎกระทรวงว่าด้วยงานออกแบบโครงสร้าง ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ทั้งกฎกระทรวงฉบับที่ 6 ซึ่งว่าด้วยเรื่อง น้ำหนักบรรทุก (load) น้ำหนักบรรทุกรวม (load combination) กำลังวัสดุและฐานราก ฉบับที่ 48 และฉบับที่ 60 ซึ่งว่าด้วยเรื่องอัตราการทนไฟของโครงสร้างอาคาร และวัสดุตกแต่งอาคาร รวมไปจนถึงกฎกระทรวงที่ว่าด้วยเรื่องของการควบคุมป้าย โดยได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎกระทรวงทั้งหมดที่จะยกเลิกนี้และจัดทำเป็นกฎกระทรวงฉบับใหม่ขึ้นมา โดยอ้างอิงกับมาตรฐานและ building code ที่ใช้กันในระดับสากล ตลอดจนการสำรวจข้อมูลจากงานก่อสร้างภายในประเทศ

การจำลองและแก้ปัญหาทาง พลศาสตร์โครงสร้างแบบเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น  โดยใช้วิธีของ Biggs

ทฤษฎีการวิเคราะห์ dynamic load โดย Prof. J.M. Biggs จาก MIT ซึ่งทฤษฎีของ Biggs นั้น ปรากฏในเอกสารซึ่งตีพิมพ์ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยในช่วงการสงคราม เพื่อป้องกันการโจมตีจากขีปนาวุธจากการจู่โจมทางอากาศ จึงได้มีการรวบรวมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร ซึ่งน่าจะมี Prof. Biggs อยู่ด้วย โดยจัดทำออกมาเป็นชุดเอกสาร ที่มีชื่อว่า “Design of Structures to Resist to Effect of Atomic Weapons”
.

การประยุกต์ใช้ แผนที่การกัดกร่อนของประเทศไทย สำหรับการออกแบบและการบำรุงรักษาโครงสร้างเหล็กเคลือบผิว ประกอบมาตรฐาน ISO 12944 และ มยผ. 1331-61

การประยุกต์ใช้ แผนที่การกัดกร่อนของประเทศไทย สำหรับการออกแบบและการบำรุงรักษาโครงสร้างเหล็กเคลือบผิว ประกอบมาตรฐาน ISO 12944 และ มยผ. 1331-61 (Thailand corrosion map application as a reference to ISO 12944 and DPT…

หลักการออกแบบ โครงสร้างสเตเดียม ด้วยเหล็กรูปพรรณ

หลักการออกแบบ โครงสร้างสเตเดียม : โครงการสนามฟุตบอลโรงเรียนนานาชาติแห่งนี้ ถูกออกแบบในเขตพื้นที่ ต.ป่าอ้อดอนชัย อ.เมือง จ.เชียงราย จำนวนที่นั่งผู้ชมมากว่า 1,000 ที่นั่ง ซึ่งเป็นโครงการที่กำลังจะดำเนินการก่อสร้าง ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มผู้บริหารของโรงเรียน และสปอนเซอร์ โดยการยกระดับมาตรฐานสนามฟุตบอลให้มีมาตรฐานตามหลักสากล และให้ได้คุณภาพตามข้อกำหนดของ AFC โดยมีลักษณะเด่นของสนามที่ออกแบบให้เกี่ยวเนื่องกับศูนย์นันทนาการของโรงเรียน และเป็นจุดเด่นให้กับชุมชนโดยรอบ เนื่องด้วยโครงการนี้ถูกตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่…

การออกแบบพื้นโพส เทนชั่น (Post-tension Flat Slab) แบบมีการยึดเหนี่ยวรับแรงทางด้านข้าง

พื้นโพสเทนชั่น แบบมีการยึดเหนี่ยวรับแรงด้านข้าง : หลักในการออกแบบระบบพื้นคอนกรีตอัดแรงนั้น เป็นการสร้างแรงภายในให้เกิดขึ้นกับโครงสร้างในทิศทางตรงข้ามกับแรงภายในที่เกิดจากแรงภายนอกที่เกิดจากน้ำหนักบรรทุกคงที่ (dead load) จากตัวโครงสร้างเอง เพื่อให้โครงสร้างสามารถรับแรงภายนอกจากน้ำหนักบรรทุกจร (live load) ได้โดยไม่ต้องเพิ่มขนาด กำลังคอนกรีต หรือปริมาณเหล็กเสริมให้มากขึ้นจากเดิม ซึ่งโดยทั่วไป การจัด profile ของลวดอัดแรงก็จะสะท้อนกับลักษณะของ bending moment…

 มาตรฐานเหล็กแผ่น ในงานอุตสาหกรรมก่อสร้าง

มาตรฐานเหล็กแผ่น : โดย ดร.ทินกร ผดุงวงศ์ Head of Steel Solution Center และ School of Engineering บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี (SSI) บรรยายเป็นหัวข้อพิเศษในงาน SSI Steel…