พื้นฐานในการคำนวณแรงลม

ว่าด้วยเรื่องของแรงลม ถึงแม้ว่าเราจะได้ post นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับวิธีในการพิจารณาแรงลมที่กระทำกับตัวอาคารไปพอสมควรนะครับทาง FB page SSI Love Steel Construction หลายท่านก็เข้าใจ บางท่านก็ได้ให้ความเห็นดีๆ educate พวกเราทำให้เราเข้าใจมากยิ่งขึ้น บางท่านก็ยังมีข้อสงสัยอยู่ เลยอยากนำเรื่อง wind load มานำเสนออีกครั้ง เพื่อที่จะอธิบายถึง…

การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหวที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

สำหรับเนื้อหาในวันนี้จะเป็น การเปรียบเทียบแรงลมและแรงแผ่นดินไหว ที่กระทำกับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ซึ่งอยากจะนำเสนอให้ได้เห็นกันว่า สำหรับอาคารประเภทนี้แล้ว แรงทางด้านข้างที่จะต้องพิจารณาเป็นหลัก คือ แรงลมหรือแรงแผ่นดินไหวกันแน่ การออกแบบอาคารที่มีลักษณะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า โดยปกติแล้ว นอกจาก dead load live load และ roof live load ที่กระทำกับอาคารแล้ว…

กฎหมายด้าน อัตราการทนไฟของอาคารโครงสร้างเหล็ก และราคาของวัสดุป้องกันไฟ

เรื่องกฎหมายด้าน อัตราการทนไฟของอาคารโครงสร้างเหล็ก (ทั้งเสาและคาน) นี้ เป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ สำหรับอุตสาหกรรมก่อสร้างบ้านเรา ที่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้งานก่อสร้างด้วยโครงสร้างเหล็กนั้น ไม่สามารถที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาการไปได้อย่างที่ควร เนื่องจากติดข้อจำกัดที่ว่า ในอาคารที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมาหน่อย (หลายประเภท) ยกตัวอย่างเช่น คลังสินค้า คอนโด โรงแรม โรงพยาบาล หรืออาคารพาณิชย์ต่างๆ นั้น จะต้องมีอัตราการทนไฟให้ได้ อย่างน้อย…

ภาพรวม แนวปฏิบัติเพื่อการออกแบบอาคารเหล็กสำเร็จรูป สำหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า

หลายท่านอาจจะได้เห็นผ่านตากันบ้างแล้วนะครับว่า ทางทีมงานกำลังจะมีการจัดงานสัมมนา SSI Steel Construction Virtual Forum ขึ้น และจะมีการแจก “ แนวปฏิบัติเพื่อการออกแบบอาคารเหล็กสำเร็จรูป สำหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า” ให้กับผู้สมัครเข้าร่วมงานทุกท่านเพื่อเป็นของสัมมนาคุณ นะครับ ทีนี้ก็เลยอยากจะมาเล่าภาพรวมของเนื้อหาในเล่มนี้ให้ทุกท่านได้ทราบกันคร่าวๆ ก่อน ว่ามีเนื้อหาที่น่าจะเป็นประโยชน์อะไรบ้าง เผื่อว่าบางท่านอาจจะไม่ได้เข้าร่วมงาน ก็อาจจะไปซื้อจาก วสท….

หลักในการออกแบบ Cold-Formed Purlin

วันนี้เราลองมาดูวิธีการออกแบบ cold-formed purlin กันสักนิดครับว่า หากต้องการคำนวณด้วยมือแล้ว สามารถทำได้ยากหรือง่ายอย่างไร แต่อย่างที่เคยเรียนให้ทุกท่านทราบไปว่า การออกแบบ cold-formed section นั้น จะต้องมีความเชี่ยวชาญและชำนาญพอสมควร เนื่องจากการออกแบบหน้าตัดคานที่มีความบางค่อนข้างมาก และมีการพับขึ้นรูปเป็นให้มีส่วนเขี้ยวที่ทำให้หน้าตัดไม่ได้สมมาตรกันทั้ง 2 แกน อีกทั้งพฤติกรรมของตัว member เองก็ยังต้องมีการพิจารณาที่แตกต่างกันออกไปอีก ย้อนอ่านได้ทาง…

หลักในการออกแบบ moment connection สำหรับเสาเหล็ก HSS (Beam Over HSS Column)

จากโพสต์ก่อนหน้านี้ ที่ทางทีมงานได้นำเสนอหลักในการออกแบบและตัวอย่างการคำนวณ flange plate moment connection ไป สำหรับวันนี้ เลยอยากจะนำเสนอ moment connection อีกรูปแบบที่ค่อนข้างน่าสนใจ และเหมาะที่จะนำมาใช้ร่วมกับเสาที่มีลักษณะเป็นแบบเหล็กรูปพรรณกลวง หรือ Hollow Steel Section, HSS ( moment…

หลักในการพิจารณาออกแบบ Composite beam และการหา Section Properties

จากโพสต์เมื่อวานนี้ที่เราคุยกันถึง เรื่องของ shear flow และการคำนวณระยะห่างที่เหมาะสมสำหรับการติดตั้ง shear stud ไปแล้ว ย้อนอ่านได้ คลิก ! ที่สามารถนำไปใช้กับเรื่องของการออกแบบ composite section ดังนั้นแล้ววันนี้เราก็จะมาพูดกันต่อเรื่อง หลักในการออกแบบ composite beam กันครับ เมื่อพูดถึง composite…

การคำนวณ Shear Flow กำลังและระยะห่างของ Shear Stud

จากโพสต์ก่อนที่เราได้คุยกันไปเรื่องของการคำนวณ shear stress ที่เกิดขึ้นต่อหน้าตัดคานเหล็ก รูปตัวไอ สามารถอ่านได้จากโพสต์นี้ คลิก ! สำหรับวันนี้เรามาคุยกันต่อเรื่องการคำนวณ shear flow ครับ ซึ่งจะมีความแตกต่างกันออกจากเดิมเล็กน้อย ก่อนอื่นต้องมาคุยกันก่อนว่า shear flow คืออะไร? คำตอบก็คือ แรงเฉือนในแนวราบ (transverse…

Concept และตัวอย่างการออกแบบสำหรับ Base Plate รับแรงเฉือน

สำหรับโพสต์นี้จะมาพูดถึงเรื่องของ base plate รับแรงเฉือน กันนะครับ แต่ก่อนอื่น ก็ต้องของพูดถึงพฤติกรรมทั่วไปที่เราพบเจอได้บ่อยๆ ของ bae plate ก่อนว่า โดยปกติแล้ว การออกแบบ base plate ที่เราคุ้นเคยกันทั่วไปก็คือ base plate ที่ต้องรับแรงในแกนที่ถ่ายมาจากเสา ซึ่ง…

งานสัมมนาด้านโครงสร้างเหล็ก SSI Steel Construction Virtual 2021

ใกล้เข้ามาแล้ว !! งานสัมมนาด้านโครงสร้างเหล็ก SSI Steel Construction Virtual Forum 2021The Rise of Steel Construction After Covid-19 Pandemic เต็มอิ่ม 12 ชั่วโมง กับเนื้อหาด้านโครงสร้างเหล็ก…